หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การตรวจพิเศษเมื่อท่านเป็นโรคความดันโลหิตสูง

เมื่อท่านเป็นโรคความดันโลหิตสูงแพทย์จะทำการตรวจพิเศษเพื่อ

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1. การตรวจเบื้องต้นสาหรับผู้ป่วยทุกราย

2. การตรวจเพิ่มเติมซึ่งขึ้นอยู่กับประวัติการเจ็บป่วย การตรวจร่างกายและผลตรวจจากการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการจากข้อ1

3. การประเมินเพิ่มเติมหากสงสัยว่าจะเป็นโรคจากความดันโลหิตสูงได้แก่

การตรวจหาการทำลายอวัยวะที่ไม่มีอาการ

มีหลักฐานจำนวนมากที่แสดงว่ามีการทำลายของอวัยวะโดยที่ไม่มีอาการเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและผู้ที่ไม่เป็น การตรวจพบการทำลายอวัยวะโดยไม่เกิดอาการ 4 อย่าง คือ microalbuminuria, PWV ที่เพิ่มขึ้น, LVH และ carotid plaque ที่สามารถทานายอัตราตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด

1.การตรวจหัวใจ

2.การตรวจหลอดเลือดแดง

3.การตรวจไต

เมื่ออัตรากรองของไต eGFR <60 มล./นาที/1.73 ม2 จะเป็นโรคไตเรื้อรังซึ่งเริ่มจาก

ขณะที่ serum creatinine ที่สูงขึ้น หรือ eGFR ที่ลดลงจะแสดงถึงสมรรถภาพไตที่ลดลง

การตรวจพบโปรตีนหรือไข่ขาวในปัสสาวะ albuminuria หรือโปรตีนในปัสสาวะก็แสดงถึงการกรองที่ไต ผิดปกติ การพบ microalbuminuria (MAU) ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1 T1DM หรือเบาหวานชนิดที่2 T2DM ก็ทำนายการเกิดไตเสื่อมจากโรคเบาหวานได้ ขณะที่การพบ macroalbuminuria ก็บ่งชี้ว่าเกิดโรคไตแล้ว

4. จอประสาทตา

การตรวจความกว้างของหลอดเลือดในตาพบว่าความกว้างของหลอดแดงเมื่อเทียบกับหลอดเลือดดำในจอรับภาพตา จะทำนายการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจและหลอดเลือด

5. สมอง MRI ของสมอง

6. ความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทุกรายควรได้รับการตรวจสอบเบื้องต้นหาความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ โดยใช้ประวัติทางคลินิก, การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น

การตรวจที่แพทย์แนะนำได้แก่

การตรวจดังกล่าวควรจะทำทุกราย และทำให้ครบ ผู้ป่วยบางรายแพทย์จะส่งตรวจเพิ่มเติมเช่น

รวบรวมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

การวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง