หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

เมื่อไรจึงจะเริ่มให้การรักษาโรคความดันโลหิตสูง


ก่อนหน้านี้การตัดสินใจรักษาโรคความดันโลหิตสูง จะพิจารณาจากระดับความดันโลหิต แต่่เนื่องจากคนทั่วไปมักจะมีหลายโรคที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ดังนั้นการตัดสินใจในการรักษาโรคความดันโลหิต ต้องพิจารณาหลายๆด้าน เช่น

ในการตัดสินใจเริ่มให้การรักษา หรือการกำหนดค่าระดับความดันเป้าหมาย จะต้องประเมินว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนสูง หรือต่ำ ในการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคแทรกซ้อนจะแบ่งเป็น



ในการประเมินความเสี่ยงจะมีวิธีการดังต่อไปนี้

  1. ขั้นสองให้คุณพิจารณาว่าคุณมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดกี่ข้อโดยเปิดหน้าความเสี่ยงดู ความเสี่ยงกี่ข้อจะมาดูตามแนวนอนของตาราง หากคุณความดันโลหิต144/86 คุณมีความเสี่ยง2ข้อ (แนวนอนช่อง2)คุณก็ตกอยู่ในช่องเหลือง แล้วไปดูรายละเอียดข้างล่างว่าช่องสีเหลืองเค้าแนะนำอะไรบ้าง
  2. ขั้นตอนที่สามก็มาดูว่าอวัยวะคุณได้รับผลเสียหายจากความดันโดยไม่เกิดอาการหรือเปล่า ค่านี้จะได้รับผลจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจ echocardiography การเจาะเลือดหาค่า Creatinin การทำ ultrasound หลอดเลือด การตรวจเบาหวาน หากเป็นเบาหวานก็จะอยู่ในช่องนี้ การตรวจหาไข่ขาวในปัสสาวะ ตัวอย่างหากคุณวัดความดันโลหิตได้ 144/86 มีความเสี่ยง2 ข้อ แต่คุณตรวจปัสาวะพบว่ามีไข่ขาว ดังนั้นตารางในแนวนอนจะอยู่ในช่องที่ 3 คุณจะตกในช่องสีส้มแทนที่จะเป็นสีเหลือง
  3. ขั้นตอนสุดท้ายให้พิจารณาว่าคุณเคยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ โรคไตหรือไม่ หากเคยเป็นจะพิจารณาแนวนอนช่องที่ 4

เมื่อพิจารณาครบแล้วคุณก็จะได้ว่าคำแนะนำในการรักษาความดันของคุณอยู่ในสีอะไร คุณก็ไปเลือกอ่านในสีนั้นๆ

ระดับความดันโลหิต  
  ความเสี่ยงในการเกิด โรคหลอดเลือดแข็ง  120-129/80-84 130-139/85-90

Grade1

140-159/91-99

Grade2

160-179/100-109

Grade3

>180/110

1 ไม่มีความเสี่ยง A A 1B C D
2 มีความเสี่ยง 1-2 ข้อ 2B 2B C C E
3 ความเสี่ยง>3 ข้อ C C D D E
4 มีโรคจากความดันเช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ E E E E E

ซึ่งประเมินความเสี่ยงต่อการตายจาก CVD ในระยะ 10 ปี โดยใช้อายุ, เพศ, การสูบบุหรี่, total cholesterol และ SBP ซึ่งอาจมีความเสี่ยงสูงจากปัจจัยต่อไปนี้

ปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด



อวัยวะเสียหายโดยไม่มีอาการ

เป็นเบาหวาน

มีโรคหัวใจและโรคไตจากความดันโลหิต

คำจำกัดความโรคความดัน การวินิจฉัยโรคความดัน