หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การดูแลผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่

เมื่อประชาชนเจ็บป่วยย่อมเป็นหน้าที่ของแพทย์ พยาบาลและโรงพยาบาลในการดูแล และรักษา ในระยะเริ่มต้นของการระบาด แพทย์จะรับตัวผู้ป่วยทุกรายที่สงสัยว่าจะเป็นเชื้อที่เป็นสาเหตุ และติดตามผู้สัมผัสโรคมากักกัน และให้ยาเพื่อป้องกันโรค ในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่ แต่เมื่อโรคระบาดมากจนกระทั่งควบคุมไม่อยู่ จะมีผู้ป่วยจำนวนมากมาตรวจที่ผู้ป่วยนอก และมีจำนวนเตียงไม่พอที่จะรับผู้ป่วยไว้ดูแล ซึ่งจะก่อปัญหาให้กับผู้ป่วย และญาติซึ่งมีส2-3ประเด็นคือ

สำหรับการดูแลผู้ป่วยที่ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่และสงสัยว่าจะเป็นโรคติดต่อท่านจะต้องเตรียมสถานที่และอุปกรดังนี้


ขั้นตอนการดูแล

  • ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจำตัว เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคไต โรคปอด โรคเบาหวาน
  • คนท้อง
  • คนที่มีอายุมากกว่า 65ปี
  • เด็กเล็กหรือทารก
  • ผู้ป่วยโรคเอดส์
  • ผู้ที่พักในสถาพเลี้ยงคนชรา
  • เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์
  • เจ้าหน้าที่ที่ดูลแลผู้สูงอายุหรือดูแลคนป่วย

สำหรับท่านที่มีไข้และอาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ ต้องแน่ใจว่าไม่ใช่ไข้จากสาเหตุอื่นที่รักษาได้ เช่นลำไส้อักเสบ ทางเดินปัสสาวะอักเสบ ไข้เลือดออก มาลาเรีย หรือปอดบวมจากเชื้อแบคทีเรีย หรือการติดเชื้ออื่นๆ ทั้งนี้จะอาศัยประวัติละการตรวจร่างกายเป็นสำคัญ โดยประวัติต้องเข้าได้กับอาการของไข้หวัดใหญ่ และไม่มีอาการอื่นๆ

เมื่ออาการบ่งชี้ว่าจะเป็นไข้หวัดใหญ ่ท่านจะต้องประเมินว่าท่านอยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนหรือไม่ หากท่านอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน ท่านควรจะไปพบแพทย์เพื่อดูแลรักษา

หากท่านไม่ใช้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง และอาการของท่านไม่มาก ท่านสามารถดูแลตัวเองที่บ้านโดย

หากท่านที่วัดสัญญาณชีพเป็นและพบว่าชีพขจรเร็วขึ้น การหายใจเร็วขึ้นและหายใจลำบาก หรือความดันโลหิตลดลง ท่านต้องรีบติดต่อแพทย์ที่ดูแลท่าน

ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก ไข้หวัดมรณะ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่009