การวัดความดันโลหิต


1.การวัดความดันโลหิตที่โรงพยาบาลหรือ clinic

ปัจจุบันจะมีการใช้เครื่องตรวจชนิด semiautomatic แทนเครื่องวัดความดันโลหิตที่ทำจากปรอท mercury sphygmomanometer ซึ่งจะต้องวัดตามวิธีการมาตรฐาน



เมื่อทำการวัดความดันโลหิตที่โรงพยาบาล ควรระมัดระวังสิ่งต่อไปนี้

  • ให้ผู้นั่งพัก 3-5 นาที ก่อนทำการวัดความดันโลหิต
  • วัดความดันโลหิต อย่างน้อย 2 ครั้ง ในท่านั่งห่างกัน 1-2 นาที และวัดเพิ่ม หาก 2 ค่าแรกต่างกันมากให้พิจารณาหาค่าความดันโลหิต เฉลี่ย
  • ทำการวัดความดันโลหิต ซ้าหลายๆ ครั้งเพื่อให้เกิดความแม่นยำดีขึ้น ในกรณีที่ผู้ป่วยมีหัวใจเต้นผิดปกติ arrhythmia เช่นหัวใจสั่นพริ้ว AF
  • ใช้ผ้าพันแขนที่มี bladder ขนาดมาตรฐาน (กว้าง 12-13 ซม. และยาว 35 ซม.) แต่ให้ใช้ยางพันแขนที่มี bladder ใหญ่ขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีเส้นรอบวงแขนมากกว่า 32 ซม. และขนาดเล็กลงในรายที่เส้นรอบวงแขนเล็ก
  • ให้ผ้าพันแขนอยู่ในระดับหัวใจไม่ว่าจะวัดผู้ป่วยในท่าใด
  • เมื่อใช้วิธีวัดชนิดฟังให้ใช้การได้ยินเสียงตุ๊บเป็นความดันโลหิตตัวบน Systolic และเสียงหายเป็นความดันโลหิตตัวล่าง Diastolic
  • ให้วัดความดันโลหิต ทั้ง 2 แขนในการตรวจครั้งแรกเพื่อดูความแตกต่าง หากพบความแตกต่างให้ใช้ค่าที่สูงกว่าเป็นค่าเปรียบเทียบ
  • ให้ทำการวัดความดันโลหิต ท่ายืนในการตรวจรักษาครั้งแรก โดยวัด ความดันโลหิต หลังยืน1-3 นาทีด้วย ในผู้ป่วยสูงอายุ, ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยในภาวะอื่นๆ หากสงสัยจะเกิดว่าจะเกิดตวามดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า orthostatic hypotension
  • ตรวจชีพจรเพื่อดูอัตราการเต้นของหัวใจอย่างน้อย 30 วินาทีหลังการวัด ความดันโลหิต ครั้งที่สองในท่านั่ง


2 ความดันโลหิตที่บ้าน HPBM

ประโยชน์หลักของที่บ้านคือได้ค่า ความดันโลหิต ที่ไม่ได้อยู่ในบรรยากาศของสถานบริการทางการแพทย์ จะได้ ความดันโลหิตที่แท้จริงมากกว่าความดันโลหิตที่โรงพยาบาล การวัดความดันโลหิตที่บ้าน จะกระทำได้โดย ABPM หรือ การวัดความดัน24 ชั่วโมง HPBM ซึ่งผู้ป่วยทำการวัดเองได้ หลักการทั่วไปของการใช้เครื่องมือดังกล่าวคือ

  • ต้องอธิบายวิธีวัดแก่ผู้ป่วยและฝึกให้วัดโดยมีการสังเกตุการณ์
  • การแปลผลต้องคำนึงถึงการวัด 24-h ความดันโลหิต,ความดันโลหิตกลางคืน และความดันโลหิตกลางวัน
  • ABPM และ การวัดความดันตลอด 24 ชม HPBM จะให้ข้อมูลต่างกันซึ่งเสริมกัน ความสัมพันธ์ของค่า ความดันโลหิต ที่วัดได้จากABPM และ การวัดความดันตลอด 24 ชม จะเทียบเคียงกันพอควรจนถึงปานกลาง
  • ความดันโลหิตที่โรงพยาบาล มักสูงกว่า ความดันโลหิตที่วัดจาก ABPM และความดันโลหิตที่วัดจากที่บ้าน ดังนั้นค่าที่ถือว่าเป็นความดันโลหิตสูงจึงต่างกันตามวิธีการที่วัด
  • ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมืออย่างน้อยทุก 6 เดือน

ตารางที่ 6 นิยามของความดันโลหิตสูงจากการวัด office ความดันโลหิต และ out-of-office ความดันโลหิต

นิยามการวัดความดันโลหิตสูงจากการวัดความดันด้วยวิธีต่างๆกัน
ชนิดของการวัดดันโลหิต Sความดันโลหิต (mmHg)   Dความดันโลหิต (mmHg)
ความดันโลหิตที่โรงพยาบาล >140 และหรือ >90
Ambulatory ความดันโลหิต   และหรือ  
  • Daytime (หรือขณะตื่น)
>135 และหรือ >85
  • Nighttime (หรือขณะหลับ)
>120 และหรือ >70
24-h >130 และหรือ >80
Home ความดันโลหิต >135 และหรือ >85


ข้อบ่งชี้ทางคลินิกในการใช้วัดความดันโลหิตที่บ้าน

แม้ความดันโลหิตวัดที่ความดันโลหิตที่โรงพยาบาล/คลินิกยังเป็นมาตรฐานในการตรวจหา, การวินิจฉัย และการรักษาโรคความดันโลหิตสูง แต่ความดันโลหิตที่บ้าน ก็มีความสาคัญเพิ่มเติมจากการวัดดังกล่าวข้างต้น แม้จะมีความแตกต่างอย่างสาคัญระหว่างAmbulatory BP (ABP) Measurement ABPM และ HPBM การใช้วิธีวัดความดันแบบไหนขึ้นอยู่กับว่าหาเครื่องมือดังกล่าวได้หรือไม่, ความสะดวก, ค่าใช้จ่ายในการตรวจและความต้องการของผู้ป่วย การประเมินเริ่มต้นสาหรับผู้ป่วย HPBM น่าจะเหมาะสมกว่าสาหรับ primary care และ AความดันโลหิตM สาหรับ specialist care มักจะใช้ AความดันโลหิตM ในการยืนยันผลจาก HความดันโลหิตM ซึ่งให้ผลก้ำกึ่งหรือพบผิดปกติ และ AความดันโลหิตM มีประโยชน์เพิ่มเติมจากการวัด night-time ความดันโลหิต แต่ HความดันโลหิตM จะเหมาะกว่า AความดันโลหิตM เพราะผู้ป่วยสามารถวัดได้เอง ซึ่งเอื้อให้ติดตามระดับความดันโลหิต แต่จะไม่เหมาะกับผู้ป่วยที่มี cognitive impairment หรือความจากัดด้านสรีระ หรืออาจห้ามใช้เลยในผู้ป่วยที่ย้าคิดย้าทา หรือสร้างความกังวลแก่ผู้ป่วย ซึ่งกรณีดังกล่าว AความดันโลหิตM จะเหมาะสมกว่าข้อบ่งชี้ในการตรวจ out-of-office ความดันโลหิต เพื่อการวินิจฉัย

2.1 การวัดความดันชนิด Ambulatory BP (ABP) Measurement ABPM

ข้อบ่งชี้ทางคลินิกสาหรับการวัดความดันที่บ้าน 24 ชม หรือ Ambulatory BP (ABP) Measurement ABPM

  1. สงสัย White coat Hypertension
  • office ความดันโลหิต ระดับ grade I hypertension
  • office ความดันโลหิต สูง โดยไม่พบ OD ที่ไม่มีอาการ และมีความเสี่ยงต่าในการเกิด CVD
  1. สงสัย MH
  • office ความดันโลหิต ระดับ high normal
  • office ความดันโลหิต ปกติ แต่พบ OD ที่ไม่มีอาการ และมีความเสี่ยงสูงในการเกิด CVD
  1. ตรวจหา WCH ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
  2. มีความแปรปรวนของ office ความดันโลหิต จากการตรวจในวาระเดียวกันหรือต่างวาระ
  3. ความดันโลหิตต่า จากระบบประสาทอัตโนมัติผิดปกติ, เมื่อเปลี่ยนเป็นท่ายืน, หลังรับประทานอาหาร,การนอนหลับหลังรับประทานอาหารกลางวันและยา
  4. เพื่อการตรวจยืนยันว่าเป็น true หรือ false resistant hypertension

ข้อบ่งชี้สาหรับการใช้ ความดันโลหิตABPM

  1. เมื่อมีความแตกต่างอย่างมากระหว่าง office ความดันโลหิต และ home ความดันโลหิต
  2. ประเมิน dipping status
  3. เมื่อสงสัยว่าความดันโลหิตสูงตอนกลางคืน หรือไม่พบ dipping เช่น ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ (sleep apnea), โรคไตเรื้อรัง หรือโรคเบาหวาน
  4. ประเมินความแปรปรวนของ ความดันโลหิต

2.2 HPBM

  • เกี่ยวกับวิธีการวัด HPBM ไม่แนะนำให้ใช้เครื่องวัดที่ข้อมือ แต่อาจใช้ได้ในผู้ป่วยที่อ้วนซึ่งมีเส้นรอบวงแขนที่ใหญ่มาก สาหรับการวินิจฉัยควรวัดความดันโลหิตทุกวันในตอนเช้า และเย็นติดต่อกันอย่างน้อย 3-4 วัน และ 7 วันจะดีที่สุด โดยการวัดแต่ละช่วงให้ทาการวัด 2 ครั้งห่างกัน 1-2 นาที เพื่อให้ค่าที่ผู้ป่วยวัดเชื่อถือได้ ให้เก็บข้อมูลเข้าในเครื่องและเฉลี่ยจากค่าที่วัดได้โดยตัดค่าที่วัดได้ในวันแรกออก
  • ความสาคัญในการพยากรณ์โรคของ HPBM ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ค่า HPBM สัมพันธ์กับการเกิดอวัยวะเสื่อมโดยไม่มีอาการ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจห้องซ้ายหนามากกว่าค่าความดันโลหิตได้จากโรงพยาบาล และดีพอๆ กับ ABPM และ HPBM ทำนายอัตราการเกิด และการตายของโรคหัวใจ และหลอดเลือดได้ดีกว่าความดันโลหิตที่วัดจากที่โรงพยาบาล

2.3 ความดันโลหิต ระหว่างออกกาลังกายและ laboratory stress

ความดันโลหิต จะสูงระหว่างการออกกาลังกายทั้งชนิด dynamic และ static โดยความดันโลหิต systolic จะสูงขึ้นมากกว่าความดันโลหิต dyastolic อย่างชัดเจน จะจัดเป็น exercise HT เมื่อ ความดันโลหิต systolic > 210 มม.ปรอทในชาย และ > 190 มม.ปรอทในหญิง

มีการศึกษาที่แสดงว่า ความดันโลหิตที่สูงอย่างมากขณะออกกาลังกายจะทำนายได้ว่าผู้ที่ความดันโลหิตปกติ ขณะนั้น จะเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในอนาคตโดยไม่เกี่ยวข้องกับระดับความดันโลหิตขณะพัก ซึ่งอาจพิจารณาตรวจ ความดันโลหิต ABPM เพราะปรากฎการณ์ดังกล่าวสัมพันธ์กับ MH ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตปกติ และผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงระดับอ่อน และมีการเพิ่มของ cardiac output มากพอทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นอย่างมาก จะพยากรณ์ได้ว่ามี long-term outcome ที่แย่กว่าผู้ที่ไม่พบปรากฎการณ์ดังกล่าว19 Laboratory stress test เช่น mental stress test ต่างๆ กล่าวคือ การกระตุ้นให้เกิดความเครียดและทาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ทาได้โดยการคานวณตัวเลข, ด้านเทคนิคหรือการตัดสินใจ20 การศึกษา meta-analysis เร็วๆ นี้ แสดงให้เห็นว่าการตอบสนองที่มากขึ้นต่อ acute mental stress จะเป็นผลร้ายต่อความเสี่ยงต่อ CVDในอนาคต กล่าวคือผลรวมของความดันโลหิตที่สูงขึ้น, ความดันโลหิตสูง LV mass, หลอดเลือดแดงแข็งขณะยังไม่มีอาการและการเกิด CVD

2.4 Central blood pressure

การวัด central ความดันโลหิต ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถทานายการเกิด CVD และดูผลที่แตกต่างกันของยาลดความดันโลหิตชนิดต่างๆ เปรียบเทียบกับ brachial pressure การวัดความดันโลหิตที่ ascending aorta จะแสดงถึงแรงดันเลือดจริงที่มีต่อหัวใจ, สมอง, ไตและหลอดเลือดแดงใหญ่ pressure wave form ในหลอดเลือดแดงประกอบไปด้วย forward pressure wave ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของ left ventricle และ reflected wave ปรากฎการณ์ของ wave reflection สามารถประเมินได้โดยใช้ augmentation index ซึ่งหมายถึงผลต่างระหว่าง systolic peak ที่ 2 และ systolic peak แรก โดยคานวณเป็นร้อยละของ pulse pressure จะดียิ่งขึ้นหากนาอัตราชีพจรมาปรับด้วย

เพิ่มเพื่อน