/

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การวินิจฉัยโรคเอสแอลอี SLE

การตรวจเลือด

การตรวจทางรังสี

การตรวจพิเศษ

ผู้ป่วยบางรายอาจจะต้องมีการตรวจพิเศษเช่น

การวินิจฉัยโรคเอสแอลอี

การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคลุปัสในปัจจุบันจะอิงตามเกณฑ์ของ American College of Rheumatology ซึ่งเกณฑ์นี้ประกอบไปด้วยอาการทางคลินิก และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์โดยผู้ป่วยควรมีจำนวนข้อที่เข้าได้อย่างน้อย 4 ข้อหรือมากกว่าจากจำนวนทั้งหมด 11 ข้อ เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติในหลายระบบ เกณฑ์วินิจฉัยดังกล่าว ให้ความไวในการวินิจฉัยโรค SLE ร้อยละ 96 และมีความแม่นยำร้อยละ 96

ในบางครั้งผู้ป่วยอาจจะมีจำนวนข้อที่เข้าได้ตามเกณฑ์น้อยกว่า 4 ข้อ เนื่องจากบางครั้งอาการ และอาการแสดงต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน ดังนั้นหากผู้ป่วยมีอาการค่อนข้างมาก และมีอาการโน้มเอียงทาง โรคSLEแพทย์อาจต้องพิจารณาให้การรักษาก่อน เช่น ผู้ป่วยมีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 1 กรัมร่วมกับมีเม็ดเลือดแดง แคสเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ ร่วมกับมี ANA ให้ผลบวกในระดับสูง anti-ds DNA ให้ผลบวก การตัดตรวจเนื้อไตเข้าได้กับภาวะไตอักเสบSLE ถึงแม้ผู้ป่วยรายนี้จะมีเพียง 3 ข้อก็ตาม ก็ควรได้รับการรักษาในทันทีการวินิจฉัยโรค SLE ไม่ง่ายอย่างที่คิด เนื่องจากอาการของโรคซับซ้อน การวินิจฉัยต้องอาศัยประวัติการเจ็บป่วยที่ค่อยข้างละเอียด และแพทย์ต้องระลึกถึงโรคนี้อยู่เสมอ การตรวจร่างกายถ้าพบลักษณะเฉพาะก็สามารถวินิจฉัยได้ นอกจากนั้นแพทย์จะเจาะเลือดเพื่อวินิฉัยดังนี้

การเจาะเลือดตรวจ

เกณฑ์การวินิจฉัยโรคSLE Systemic Lupus Erythematosus (SLE)

การวินิจฉัยโรคโรคพุ่มพวง,โรคเอสแอลอี จะต้องอาศัยประวัติการเจ็บป่วย และผลตรวจเลือด การวินิจฉัยจะอาศัยเกณฑ์การวินิจฉัยเพื่อให้การวินิจฉัยแม่นยำขึ้น เกณฑ์การวินิจฉัย( ตาม American College of Rheumatology (ACR) criteria )จะมีความไว 85% และความแม่นยำ 95% เกณฑ์ดังกล่าวได้แก่

เกณฑ์การวินิจฉัยต้องใช้ 4 ใน 11 ข้อ

 

อาการโรค SLE การรักษาโรค SLE

สาเหตุของโรคแอลอี อาการของโรคเอสแอลอี การวินิจฉัย SLE การรักษาโรค SLE