หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การป้องกันโรคหลอดเลือดตีบซ้ำ

โรคหลอดเลือดแดงแข็งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดหลอดเลือดแดงตีบและเกิดโรค หลอดเลือดแข็ง และตีบมีทั้งการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่นโรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดขาตีบ หรือโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ สำหรับโรคหลอดเลิอดแดงตีบที่มีอาการแบบเฉียบพลัน ซึ่งจะต้องรับให้การรักษาให้ทันเวลาหากไม่ทันเวลาก็จะทำให้เกิดความพิการตามมา เช่นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากหลอดเลือดแดงตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบและสมองขาดเลือด

สำหรับผู้ที่เกิดป่วยเป็นโรคหลอดเลือดตีบทั้งหัวใจและหลอดเลือดสมอง เมื่อหายแล้วหากท่านยังไม่ดูแลตนเองก็จะเกิดโอกาศเป็นซ้ำได้ วิธีที่ป้องกันมิให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบซ้ำได้แก่การควบคุมปัจจัยเสี่ยง

ความดันโลหิตสูง

ความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด โรคหลอดเลือดแดงแข็ง ดังนั้นการควบคุมความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 140/90 มิลิเมตรปรอท จะสามารถลดการเกิด โรคหลอดเลือดแดงตีบได้ วิธีการควบคุมความดันโลหิตทำได้โดย

การสูบบุหรี่

เป้าหมายต้องหยุดสูบบุหรี่ และไม่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีบุหรี่

คำแนะนำ

ไขมันในเลือดสุง

ไขมันในเลือดสูงจะเป็นความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคหลอดเลือดสมองตีบดังนั้นผู้ที่เป็นโรคดังกล่าวข้างต้นจะต้องควบคุมระดับไขมันมิให้สูง

เป้าหมายของระดับไขมันในเลือด

วิธีการลดไขมันในเลือด

ภาวะผิดปกติของน้ำตาล

เนื่องจากโรคหลอดเลือดสมองตีบ และโรคหลอดเลือดหัวใจตีบจะพบว่ามีโรคเบาหวานร่วมด้วย ดังนั้นผู้ป่วยกลุ่มนี้จะต้องตรวจระดับน้ำตาลทุกราย

เป้าหมาย

เป้าหมายของการควบุมเบาหวานคือระดับน้ำตาลเฉลี่ย glycosylated hemoglobin (HbA1c) ต้องน้อยกว่า7%.

ภาวะอ้วน และ ภาวะอ้วนลงพุง Metabolic Syndrome

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะอ้วนมากถึงร้อยละ 18-44 ภาวะอ้วนหมายถึงผู้ที่มีดัชนีมวลกายมากกว่า 30 กิโลกรัม/ตารางเมตร ซึ่งจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง กลไกเชื่อว่าคนอ้วนจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันดลหิตสูง ไขมันในเลือดสุง ภาวะดื้อต่ออินซูลิน และ การอักเสบ ความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจะเริ่มเพิ่มตั้งแต่ดัชนีมวลกายที่ 20 กิโลกรัม/ตารางเมตร พบว่าดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้นทุก 1 กิโลกรัม/ตารางเมตร ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

ค่าเป้าหมายอยู่ที่

คำแนะนำ

การออกกำลังกาย

สมาคมโรคหัวใจของอเมริกาแนะนำให้มีการออกกำลังกายแบบแอร์โรบิคสัปดาห์ละ5 วันครั้ง 30 นาที ปัญหาที่เกิดกับผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองคือการอ่อนแรง การทรงตัว ความรู้สึกทำให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีการออกกำลังกายน้อย

ภาวะโภชนการ

ภาวะโภชนาการเกินได้กล่าวไว้ในภาวะอ้วนหรือ metabolic syndrome สำหรับหรับภาวะทุโชนาการจะกล่าวต่อไป

ภาวะทุโภชนาการ

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอาจจะมีภาวะทุโภชนาการเนื่องจากปัญหาโรคของผุ้ป่วย ผู้ป่วยไม่สามารถจะรับประทานอาหารเองได้ หรือมีปัญหาการดูดซึม แต่มีปัญหาเรื่องการประเมินภาวะทุโภชนาการ ซึ่งอาจจะใช้การประเมินดัชนีมวลกาย ระดับ albumin ในเลือด เส้นรอบแขน ความหนาของผิวหนัง ประเมินกันว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะทุโภชนการประมารร้อยละ8-13

คำแนะนำ



นอนกรน

พบว่าผู้ป่วยมากกว่าครึ่งของโรคหลอดเลือดสมองจะมีภาวะนอนกรน Obstructive Sleep Apnea (การวัดว่าเป็นโรคนอนกรนหรือไม่จะวัดจำนวนครั้งต่อชั่วโมงที่หยุดหายในในขณะหลับ หากมากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วดมงจะถือว่าเป็นโรคนี้ ความรุนแรงจะตามจำนวนครั้งของการหยุดหายใจ)

การดื่มสุรา

คำแนะนำ

โรคหลอดเลือดแดงแข็ง

อาการของโรค

การสูบบุหรี่

การป้องกันการเกิดซ้ำ