ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้วได้แก่

- อายุ ผู้ที่อายุมากจะมีโอกาศเป็นโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้วสูงตามอายุ
- โรคหัวใจ. ผู้ที่เป็นโรคหัวใจเช่นโรคลิ้นหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ผ่าตัดหัวใจ กลุ่มเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- Coronary heart disease (CHD)
- หัวใจวาย Heart failure
- โรคหัวใจรูมาติค
- โรคลิ้นหัวใจ
- เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
- หัวใจพิการแต่กำเนิด
- Sick sinus syndrome
- ความดันโลหิตสูง ผู้ที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ดี ไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจสั่นพริ้ว อ่านที่นี่
- โรคเรื้อรังอื่นๆ ผู้ที่เป็นโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคนอนกรน และโรคทางอายุรกรรมอื่นๆจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจสั่นพริ้ว
- ผู้ที่ดื่มสุรา.ผู้ที่ดื่มสุราจะกระตุ้นทำให้หัวใจเต้นผิดปรกติสำหรับผู้ชายหากดื่มมากกว่า 5 หน่วยสุรา ผู้หญิงดื่มมากกว่า 4 หน่วยสุราจะเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจเต้นสั่นพริ้วอ่านที่นี่
- ประวัติครอบครัว ผู้ที่มีประวัติครอบครัวจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- หัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- อาการของโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- ชนิดของโรคหัวใจสั่นพริ้ว
- สาเหตุของหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- ปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- การวินิจฉัยโรคหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- การรักษาหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- โรคแทรกซ้อนหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- การไปตรวจตามนัดหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
- การป้องกันหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
ต้องการสอบถามเพิ่มเติมที่นี่