การติดเชื้อ การติดต่อ วัณโรคดื้อยา การวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน
ผู้ที่ได้รับเชื้อ [Latent infection] ทุกคนไม่จำเป็นต้องเป็นวัณโรคทุกคน ประมาณว่าร้อยละ 10จะเป็นวัณโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเหล่านี้
- ผู้ป่วยโรคเอดส์
- ผู้ป่วยเบาหวาน
- ผู้ป่วยที่ได้รับยา prednisolone หรือยากดภูมิคุ้มกันเป็นเวลานาน หรือเปลี่ยนไต
- ผู้ป่วยที่ไตวายเรื้อรัง
- ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
- ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวน้อย
- ผู้ป่วยที่เป็น silicosis
- ผู้ป่วยที่ตัดกระเพาะ หรือตักต่อลำไส้
เมื่อร่างกายอ่อนแอเชื่อที่อยู่ในปอดจะเจริญและแพร่กระจายเข้ากระแสเลือดและต่อมน้ำเหลืองไปตามอวัยวะต่างๆ เช่น ผิวหนัง ไต กระดูก และอวัยวะสืบพันธ์ ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคจะมีอาการ ไข้ น้ำหนักลด เบื่ออาหาร ไอเรื้อรัง บางรายไอจนเสมหะมีเลือดปน หากเป็นมากขึ้นจะมีการทำลายเนื้อปอดทำให้หอบเหนื่อย
ความสำคัญของวัณโรค การติดต่อ ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ การวินิจฉัยโรค การทดสอบผิวหนัง วัณโรคนอกปอด วัณโรคดื้อยา ยาและการจัดการกับวัณโรค การรักษาวัณโรค การให้ยาแบบ DOT การรักษาวัณโรคในภาวะพิเศษ วัณโรคในเด็ก เอดส์และวัณโรคการป้องกันวัณโรค การฉีดวัคซีน BCG วัณโรค