หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

โรค อีโบลา Ebola

Ebola virus และ Marburg virus เป็นเชื้อไวรัสอีโบลาอีโบลาที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการไข้เลือดออก ซึ่งมีลักษณะดังนี้ เลือดออกง่ายและรุนแรง อวัยวะล้มเหลว และเสียชีวิต อัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 90 เชื้อนี้เป็นเชื้อประจำถิ่นแถบประเทศอีโบล่า Africa และมีการระบาดเป็นระยะๆ

เชื้อไวรัสอีโบลาอีโบลา Ebola จะอยู่อยู่ในสัตว์ คนได้รับเชื้อนี้จากสัตว์ที่มีเชื้อโรค การติดต่อจากคนสู่คนโดยการได้รับสารหลั่งขณะนี้ยังไม่มียาสำหรับรักษาโรคน

Ebola virus อยู่ใน family ที่เรียกว่า Filoviridae นักวิทยาศาสตร์แบ่งไวรัสอีโบลานี้เป็น 5 ชนิด 4 ชนิดมีรายงานว่าทำให้เกิดโรคในคนได้แก่เชื้อ

อาการของโรคอีโบลา Ebola

หลังจากได้รับเชื้อประมาณ2-21วัน(ระยะฟักตัว) ระยะแรกจะมีอาการดังต่อไปนี้

อาการของโรคจะเป็นมากขึ้นเป็นลำดับ และมีอาการ

สาเหตุของโรคอีโบลา

เชื้อไวรัสอีโบลาอีโบลา Ebola พบในสัตว์ เช่น ลิงชิมแปนซี

การติดต่อจากสัตว์สู่คน

คนจะได้รับเชื้อไวรัสอีโบลาจากสารหลั่งของสัตว์ทาง

การติดต่อจากคนสู่คน

การแพร่เชื้อของโรคอีโบลา

การแพร่เชื้อจากคนสู่คนของอีโบลามีได้หลายวิธีส่วนใหญ่จะแพร่จากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่งทางการสัมผัสโดยตรง (ผ่านทางเยื่อบุต่างๆเช่น ตา จมูก ปาก และแผลที่ผิวหนัง)โดยผ่านทาง

สำหรับบุคคลากรทางการแพทย์หากไม่สวมหน้ากากอนามัย เสื้อคลุม ถุงมือ แว่นตา จะมีโอกาศติดเชื้อสูง สำหรับผู้ที่หายจะโรคควรจะงดการมีเพศสัมพันธ์ 3 เดือน หรือให้สวมถุงยางอนามัย

ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้ออีโบลา

โรคแทรกซ้อนของไวรัสอีโบลา Ebola

อัตราการเสียชีวิตของผู้ที่ติดเชื้อ Ebola จะสูง ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้แก่

สำหรับผู้ที่หายจากโรคจะใช้เป็นเดือนกว่าร่างกายจะกลับสู่ปกติ และเชื้อจะยังอยู่ในร่างกายหลายสัปดาห์ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้

การวินิจฉัยโรคอีโบลา

การวินิจฉัยจะค่อนข้างยากเพราะระยะแรกของอาการจะเหมือนกับไข้ไทฟอยด์ หรือไข้มาราเรีย แต่หากได้ประวัติสัมผัสกับผู้ป่วยหรือไปยังถิ่นระบาด และแพทย์สงสัยก็จะเจาะเลือดตรวจด้วยวิธี

ซึ่งจะทำให้วินิจฉัยโรคได้

การรักษาโรคอีโบล่า

ยังไม่มีการรักษาเฉพาะเพียงแค่การให้น้ำเกลือ การรักษาความดันโลหิต การเติมเลือด

การป้องกันโรคอีโบล่า

การป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีโบลา Ebola ดีที่สุดคือการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อไวรัสอีโบลา

สำหรับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์

ยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกันโรค

แนวทางควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข

ความรู้สำหรับประชาชน

การป้องกันโรคอีโบลา