jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การจำแนกผู้ป่วยตามระดับความเสี่ยง

จากการการคัดกรองโดยประวัติการเจ็บป่วยและตรวจสภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานสามารถแบ่งผปู้่วยได้ 4 กลุ่ม ตามระดับความเสี่ยง ดังนี้



ระดับ 0 (ความเสี่ยงต่ำ) :

ลักษณะผู้ป่วยได้แก่ ไม่มีแผลที่เท้าหรือไม่ถูกตัดขา ไม่มีอาการชาเท้ากลุ่มที่มีความรู้สึกสัมผสัเทา้ที่ผิดปกติแต่ไม่มีอาการเทา้ชาและไม่มีแผล ไม่มี การสูญเสียความรู้สึกในการป้องกนักนั ตราย (no loss of protective) และสามารถรับรู้สัมผัสจากการตรวจ ด้วย monofilament 5.07 (10 gm.)ครบถูกตา แหน่ง ยงัมีความรู้สึกในการป้องกนัอนั ตราย ไม่เคยมีแผลหรือถูก ตดัขาก่อน กลุ่มน้ีมีความเสี่ยงต่า แต่มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไปเป็นความเสี่ยงสูงได้การให้ความรู้เป็นหัวใจส าคญั ไดแ้ก่ ความรู้เกี่ยวกบัโรคเบาหวาน การป้องกนัโรคแทรกซ้อน การเลิกสูบบุหรี่ การดูแลเทา้ตามคู่มือการดูแล สุขภาพเท้าและการตรวจเท้าด้วยตนเอง จึงควรมีการตรวจซ้า ปีละ1 คร้ัง

ระดับ 1 ( moderate risk ) :

กลุ่มที่มีความรู้สึกสัมผสั ที่เทา้ลดลง มีชาบา้ง และไม่มีแผล แต่สูญเสีย ความ รู้สึกในการป้องกนัอนั ตราย ( loss of protective sensation) ไม่สามารถรับรู้สัมผสัจากการตรวจดว้ย monofilament 5.07 (10 gm.) ต้งัแต่ 1 ตา แหน่งข้ึนไป แต่ยงัไม่มีความผดิปกติอื่น ๆ กลุ่มน้ีเริ่มมีความเสี่ยงสูง ตอ้งเพิ่มความรู้ในการดูแลสุขภาพเทา้รวมถึงผิวหนงัและเล็บทุกวนั เพื่อเฝ้า ระวงัการบาดเจ็บและให้ความรู้ในการดูแลรักษาเบ้ืองตน้ ที่เหมาะสม ห้ามเดินเทา้เปล่า รวมท้งัควรได้รับ 7 ความรู้และคา แนะนา เกี่ยวกบัการเลือกซ้ือรองเทา้ที่เหมาะสม จึงควรนัดตรวจทุก 3 - 6 เดือนโดยเน้นตรวจ ประเมินเท้า

ระดับ 2 ( high risk) :

กลุ่มที่สูญเสียความรู้สึกสัมผสั ที่เทา้ มีอาการชา มีการสูญเสียความรู้สึกใน การป้องกนัอนั ตรายร่วมกบั มีจุดรับน้า หนกัผิดปกติไป เช่น เทา้ผิดรูป การเคลื่อนไหวของข้อลดลง มีตาปลา และ/หรือการไหลเวียนของเลือดผิดปกติ ( loss of protective sensation & evidence of high pressure callus , deformity or poor circulation) กลุ่มน้ีมีความเสี่ยงสูงมาก ตอ้งเพิ่มความเคร่งครัดในการดูแลเทา้และการบริหารเทา้ ควรระมดัระวงั ไม่ให้เท้าเกิดตาปลาหรือหนงัหนาและควรได้รับการขูดหนังหนา ตาปลาโดยเจ้าหน้าที่ที่ช านาญหรือปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการตัดรองเท้าเพื่อเลือกใช้อุปกรณ์เสริมฝ่ าเท้า หรือสวมรองเท้าส าหรับ ผู้ป่ วยเบาหวาน โดยเฉพาะและควรมาพบแพทย์ทันทีที่มีปัญหาที่เท้า จึงควรนัดตรวจทุก 1 - 3 เดือน โดยเน้นตรวจประเมินเท้า ตดัหนงัแขง็ ตาปลา ประเมินกิจกรรมที่ทา และรองเทา้

ระดับ 3 ( very high risk ) :

กลุ่มที่มีแผลที่เทา้หรือมีประวตัิเคยเป็นแผลที่เทา้หรือถูกตัดเท้ามา ก่อน ( history of plantar ulceration or , charcot foot) กลุ่มน้ีมีความเสี่ยงสูงที่สุดต่อการเกิดแผลซ้ าหรือถูกตดัขา ต้องเคร่งครัดในการดูแลเทา้และสวม รองเท้าที่เหมาะสมตลอดเวลา จึงควรนัดตรวจทุก 1 -2 สัปดาห์ โดยเน้นเหมือนระดับ 2 แต่เขม้งวดกวา

• Group 0: patients who had no distal sensory neuropathy

• Group 1: patients who had only distal sensory neuropathy

• Group 2: neuropathic patients who had foot deformity or vascular foot disease

• Group 3: neuropathic Patients who had a history of prior foot ulcer or amputation

คำแนะนำ

การดูแลแผลที่เท้า