การป้องกันโรคปวดหลัง
การป้องกันโรคปวดหลังดีที่สุดคือการออกกำลังกายและป้องกันหลังมิให้ได้รับอุบัติเหตุ
บริหารร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง
เพราะเราไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายจะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การออกกำลังจะต้องค่อยสร้างความแข็งแรงทั้งกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลัง
และจะต้องให้ข้อมีการเคลื่อนไหวได้ดีไม่มีข้อติด
การออกกำลังอาจจะทำได้โดยการเดิน
การขี่จักรยาน
การว่ายน้ำจะทำให้หลังแข็งแรง
1บริหารร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง
เพราะเราไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายจะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การออกกำลังจะต้องค่อยสร้างความแข็งแรงทั้งกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลัง
และจะต้องให้ข้อมีการเคลื่อนไหวได้ดีไม่มีข้อติด
การออกกำลังอาจจะทำได้โดยการเดิน
การขี่จักรยาน
การว่ายน้ำจะทำให้หลังแข็งแรง
- รักษาน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์เหมาะสมไม่ให้อ้วนโดยการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ
ออกกำลังแบบ aerobic เช่นการวิ่ง
ขี่จักรยาน
- การนั่งหรือยืนให้ถูกท่า
เพราะการนั่งหรือการยืนที่ผิดท่าจะทำให้เกิดอาการปวดหลัง
- การยืนควรจะยืนตัวตรงหลังไม่โก่งหรือคด
แนวติ่งหู
ไหล่และข้อสะโพกควรเป็นแนวเส้นตรง
ไม่ควรยืนนานเกินไปไม่ควรใส่รองเท้าที่มีส้นควรจะมีเบาะรองฝ่าเท้า
หากต้องยืนนานควรมีที่พักเพื่อสลับเท้าพัก
- การนั่งจะเป็นการเพิ่มแรงกดดันต่อกระดูกหลังมากที่สุด
ควรจะพนักพิงหลังบริเวณเอว
ควรจะเป็นเก้าอี้ที่หมุนได้เพื่อป้องกันการบิดของเอว
มีที่พักของแขนขณะที่นั่งพักหัวเข่าควรอยู่สูงกว่าระดับข้อสะโพกเล็กน้อย
ควรมีเบาะรองเท้า
ควรจะมีหมอนเล็กๆรองบริเวณเอว
ควรเลือกเก้าอี้ที่ถูกต้อง
- การขับรถโดยเฉพาะการขับรถทางไกล
ควรเลื่อนเบาะนั่งให้ใกล้เพื่อป้องกันการงอหลัง หลังส่วนล่างควรจะพิงกับเบาะ
เบาะไม่ควรเอียงเกิน 30 องศา
เบาะนั่งควรจะยกด้านหน้าให้สูงกว่าด้านหลังเล็กน้อย
หากขับรถทางไกลควรจะพักเดินทุกชั่วโมง
และไม่ควรยกของหนักทันทีหลังหยุดขับ
- การนอน
ที่นอนไม่ควรจะนุ่มหรือแข็งเกินไป
ควรจะวางไม้หนา 1/4
นิ้วระหว่างสปริงและฟูกท่าที่ดีคือให้นอนตะแคงและก่ายหมอนข้าง
หรือนอนหงายโดยมีหมอนรองที่ข้อเข่า ไม่ควรนอนหงายโดยที่ไม่มีหมอนหนุน
หรือนอนตะแคงโดยไม่มีหมอนข้างหรือนอนคว่ำ
- การนั่งที่ถูกต้อง ต้องนั่งให้หลังตรงหลังพิงพนักเก้าอี้
เก้าอี้ต้องไม่สูงเกินไป ระดับเข่าควรจะอยู่สูงกว่าระดับสะโพก
อาจจะหาเก้าอี้เล็กรองเท้าเวลานั่ง
- การยืนนานๆ ควรจะมีเก้าอี้หรือโต๊ะเล็กไว้วางเท้าข้างหนึ่ง
- นั่งหลังตรงและมีพนักพิงที่หลัง
- หาหมอนหรือผ้ารองบริเวณเอว
- ให้ยืนยืดเส้นทุก 20-30 นาที
|
- อย่ายืนหลังค่อม
- ให้ยืนยืดไหล่อย่าห่อ ไหล่เพราะจะเมื่อยคอ
- อย่าใส่รองเท้าที่ส้นสูงมาก
|
- ให้เลือกวิธีอื่นเช่น
การผักหรือดัน
- ถ้าหนักไปอย่ายก
ให้หาคนช่วย
- เวลาจะยกให้เดินเข้าใกล้สิ่งที่จะยก
- ย่อเขาลงแล้วจับแล้วยืนขึ้น
- ไม่ก้มหลังไปยก
|
ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคปวดหลัง
- หลีกเลี่ยงจากการงอเอว ให้งอข้อสะโพกและเข่าร่วมด้วย
- หลีกเลี่ยงจากการยกของหนักโดยเฉพาะที่อยู่เกินเอว
- หันหน้าเข้าสิ่งของทุกครั้งที่จะยกของ
- ถือของหนักชิดตัว
- ไม่ยกหรือพลักของที่หนักเกินตัว
- หลีกเลี่ยงการยกของที่มีน้ำหนักไม่เท่ากัน
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
- เปลี่ยนท่าบ่อยๆ
- การถูพื้น ดูดฝุ่น การขุดดิน ควรจะถือเครื่องมือไว้ใกล้ตัว
ไม่ก้าวยาวๆหรือเอื้อมมือหยิบของ
- ให้นั่งสวมถุงเท้า รองเท้า ไม่ยืนเท้าข้างเดียวสวมรองเท้าหรือถุงเท้า
- ใช้รองเท้าส้นเตี้ย
- หลีกเลี่ยงการแอ่นหรืองอหลัง เช่นการแอ่นหลังไปข้างหลังหรือก้มเอานิ้วมือจรดพื้น
- เมื่อจะไอหรือจามให้กระชับหลังและงอหัวเข่า
- เวลาปูเตียงให้คุกเข่า
การรักษา
เป็นการยากสำหรับผู้ป่วยที่จะประเมินว่าอาการปวดหลังเกิดจากกล้ามเนื้อหรือเกิดจากโรคอื่น แต่มีข้อแนะนำว่าควรจะพบกับแพทย์หากมีอาการเหล่านี้ร่วมด้วย
- ปัสสาวะลำบาก
- มีอาการชาบริเวณหลังหรือบริเวณอวัยวะเพศ
- มีอาการชาและอ่อนแรงขาข้างหนึ่ง
- มีอาการปวดแปล๊บที่ขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
- เดินเซ
การป้องกันโรคปวดหลัง
การป้องกันโรคปวดหลังดีที่สุดคือการออกกำลังกายและป้องกันหลังมิให้ได้รับอุบัติเหตุ
- บริหารร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง
เพราะเราไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกายจะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การออกกำลังจะต้องค่อยสร้างความแข็งแรงทั้งกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลัง
และจะต้องให้ข้อมีการเคลื่อนไหวได้ดีไม่มีข้อติด
การออกกำลังอาจจะทำได้โดยการเดิน
การขี่จักรยาน
การว่ายน้ำจะทำให้หลังแข็งแรง
- รักษาน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์เหมาะสมไม่ให้อ้วนโดยการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ
ออกกำลังแบบ aerobic เช่นการวิ่ง
ขี่จักรยาน
- การนั่งหรือยืนให้ถูกท่า
เพราะการนั่งหรือการยืนที่ผิดท่าจะทำให้เกิดอาการปวดหลัง
- การยืนควรจะยืนตัวตรงหลังไม่โก่งหรือคด
แนวติ่งหู
ไหล่และข้อสะโพกควรเป็นแนวเส้นตรง
ไม่ควรยืนนานเกินไปไม่ควรใส่รองเท้าที่มีส้นควรจะมีเบาะรองฝ่าเท้า
หากต้องยืนนานควรมีที่พักเพื่อสลับเท้าพัก
- การนั่งจะเป็นการเพิ่มแรงกดดันต่อกระดูกหลังมากที่สุด
ควรจะพนักพิงหลังบริเวณเอว
ควรจะเป็นเก้าอี้ที่หมุนได้เพื่อป้องกันการบิดของเอว
มีที่พักของแขนขณะที่นั่งพักหัวเข่าควรอยู่สูงกว่าระดับข้อสะโพกเล็กน้อย
ควรมีเบาะรองเท้า
ควรจะมีหมอนเล็กๆรองบริเวณเอว
ควรเลือกเก้าอี้ที่ถูกต้อง
- การขับรถโดยเฉพาะการขับรถทางไกล
ควรเลื่อนเบาะนั่งให้ใกล้เพื่อป้องกันการงอหลัง หลังส่วนล่างควรจะพิงกับเบาะ
เบาะไม่ควรเอียงเกิน 30 องศา
เบาะนั่งควรจะยกด้านหน้าให้สูงกว่าด้านหลังเล็กน้อย
หากขับรถทางไกลควรจะพักเดินทุกชั่วโมง
และไม่ควรยกของหนักทันทีหลังหยุดขับ
- การนอน
ที่นอนไม่ควรจะนุ่มหรือแข็งเกินไป
ควรจะวางไม้หนา 1/4
นิ้วระหว่างสปริงและฟูกท่าที่ดีคือให้นอนตะแคงและก่ายหมอนข้าง
หรือนอนหงายโดยมีหมอนรองที่ข้อเข่า ไม่ควรนอนหงายโดยที่ไม่มีหมอนหนุน
หรือนอนตะแคงโดยไม่มีหมอนข้างหรือนอนคว่ำ
- การนั่งที่ถูกต้อง ต้องนั่งให้หลังตรงหลังพิงพนักเก้าอี้
เก้าอี้ต้องไม่สูงเกินไป ระดับเข่าควรจะอยู่สูงกว่าระดับสะโพก
อาจจะหาเก้าอี้เล็กรองเท้าเวลานั่ง
- การยืนนานๆ ควรจะมีเก้าอี้หรือโต๊ะเล็กไว้วางเท้าข้างหนึ่ง
- นั่งหลังตรงและมีพนักพิงที่หลัง
- หาหมอนหรือผ้ารองบริเวณเอว
- ให้ยืนยืดเส้นทุก 20-30 นาที
|
- อย่ายืนหลังค่อม
- ให้ยืนยืดไหล่อย่าห่อ ไหล่เพราะจะเมื่อยคอ
- อย่าใส่รองเท้าที่ส้นสูงมาก
|
- ให้เลือกวิธีอื่นเช่น
การผักหรือดัน
- ถ้าหนักไปอย่ายก
ให้หาคนช่วย
- เวลาจะยกให้เดินเข้าใกล้สิ่งที่จะยก
- ย่อเขาลงแล้วจับแล้วยืนขึ้น
- ไม่ก้มหลังไปยก
|
ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคปวดหลัง
- หลีกเลี่ยงจากการงอเอว ให้งอข้อสะโพกและเข่าร่วมด้วย
- หลีกเลี่ยงจากการยกของหนักโดยเฉพาะที่อยู่เกินเอว
- หันหน้าเข้าสิ่งของทุกครั้งที่จะยกของ
- ถือของหนักชิดตัว
- ไม่ยกหรือพลักของที่หนักเกินตัว
- หลีกเลี่ยงการยกของที่มีน้ำหนักไม่เท่ากัน
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
- เปลี่ยนท่าบ่อยๆ
- การถูพื้น ดูดฝุ่น การขุดดิน ควรจะถือเครื่องมือไว้ใกล้ตัว
ไม่ก้าวยาวๆหรือเอื้อมมือหยิบของ
- ให้นั่งสวมถุงเท้า รองเท้า ไม่ยืนเท้าข้างเดียวสวมรองเท้าหรือถุงเท้า
- ใช้รองเท้าส้นเตี้ย
- หลีกเลี่ยงการแอ่นหรืองอหลัง เช่นการแอ่นหลังไปข้างหลังหรือก้มเอานิ้วมือจรดพื้น
- เมื่อจะไอหรือจามให้กระชับหลังและงอหัวเข่า
- เวลาปูเตียงให้คุกเข่า
การรักษา
เป็นการยากสำหรับผู้ป่วยที่จะประเมินว่าอาการปวดหลังเกิดจากกล้ามเนื้อหรือเกิดจากโรคอื่น แต่มีข้อแนะนำว่าควรจะพบกับแพทย์หากมีอาการเหล่านี้ร่วมด้วย
- ปัสสาวะลำบาก
- มีอาการชาบริเวณหลังหรือบริเวณอวัยวะเพศ
- มีอาการชาและอ่อนแรงขาข้างหนึ่ง
- มีอาการปวดแปล๊บที่ขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
- เดินเซ