วัคซีนป้องกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก

วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและบาดทะยักทำจากทอกซอยด์ ขณะที่วัคซีนป้องกันโรคไอกรนเป็นวัคซีนชนิดเชื้อตายหรือส่วนของแอนติเจนจากผนังเซลล์ของเชื้อ

วัคซีนมีกี่ชนิด

  1. DTwP ใช้กันหลายปีป้องกันไอกรน บาดทะยัก และคอตีบ DTwP ประกอบด้วยเชื้อไอกรนที่ตายแล้ว ส่วนที่ป้องกันคอตีบและบาดทะยักไม่ต่างจากชนิด DTaP
  2. DTaPผลข้างเคียงน้อยกว่าDTPใช้ป้องกันไอกรน บาดทะยัก และคอตีบ DTaP ประกอบด้วยแอนติเจนจากผนังเซลล์ของเชื้อไอกรน
  3. DTป้องกันบาดทะยัก และคอตีบ ใช้สำหรับเด็กที่แพ้วัคซีนที่มีส่วนผสมของเชื้อไอกรน
  4. Tdap
  5. Td เป็นวัคซีนที่ใช้ฉีดกระตุ้นสำเหรับเด็กโตและผู้ใหญ่

ทำไมต้องให้วัคซีน

คอตีบ เกิดจากเชื้อ bacteria ทำให้เกิดผ้าขาวที่คอ อาจทำให้หัวใจวาย หรือเสียชีวิต

บาดทะยักเกิดจากเชื้อ bacteria ปนเปื้อนแผลทำให้เกิดอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ กลืนอาหารไม่ได้และอาจทำให้เสียชีวิต

ไอกรนเด็กที่เป็นโรคนี้จะไอมากจนรับประทานทานอาหารไม่ได้อาจเกิดโรคปอดบวมและเสียชีวิตได้

ผลข้างเคียงมีอะไรบ้าง

ผลข้างเคียงที่พบบ่อยแต่ไม่รุนแรงคือปวดแขนขา เบื่ออาหาร คลื่นไส้มักเป็นภายใน3วันหลังฉีด

ผลข้างเคียงที่อื่นที่พบได้แต่ไม่บ่อยได้แก่ เด็กร้องไห้พบ100ใน10000 ไข้สูงพบได้30ใน10000 ชักพบได้6ใน10000

ผลข้องเคียงที่รุนแรงคือชักและสมองพิการ หายใจลำบากและช็อก

อาการแพ้ต่างพบได้น้อยเมื่อใช้ DTaP

ควรได้วัคซีนเมื่อไร่

เด็กควรได้วัคซีนเมื่ออายุ 2เดือน 4เดือน 6เดือน 12-18เดือนหลังจากนั้นกระตุ้นเมื่อ4-6ขวบ กระตุ้นทุก10ปีด้วย DT หลังฉีดให้ยาลดไข้โดยเฉพาะเด็กที่ชักหรือมีประวัติชักในครอบครัว

เด็กคนไหนไม่ควรได้วัคซีน

  1. แพ้วัคซีนเข็มก่อน
  2. เด็กชัก
  3. ประวัติครอบครัวพี่น้องมีชัก
  4. มีปัญหาทางสมอง

การให้วัคซีน

วัคซีนคอตีบ บาดทะยักและไอกรนชนิด DTwP และ DTaP จะเริ่มให้ในเด็กตั้งแต่

  • อายุ 2 เดือน
  • อายุ 4 เดือน
  • อายุ 6 เดือน
  • กระตุ้นเมื่ออายุ 15-18 เดือน
  • กระตุ้นอีกครั้งเมื่ออายุ 4-6 ปี
  • กระตุ้นด้วยวัคซีนคอตีบและบาดทะยัก (dT)หรือ Tdap เมื่ออายุ 10-11 ปี
  • หลังจากนั้นฉีดทุก10ปี

การให้วัคซีนบาดทะยักในหญิงมีครรภ์

การให้วัคซีนบาดทะยักในหญิงมีครรภ์ควรได้รับอย่างน้อย 3 เข็ม โดยพิจารณาดังนี้

  • ถ้าไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน ให้ฉีดเข็มแรกเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก และนัดฉีดครั้งต่อไปจนครบอย่างน้อย 3 เข็ม ให้ฉีดโดยมีระยะห่าง 0, 1, 6 เดือน จากนั้นให้กระตุ้นทุก 10 ปี
  • ถ้าเคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 1 เข็มให้ฉีดอีก 2 เข็ม ซึ่งควรห่างกัน 6 เดือน
  • ถ้าได้มาแล้ว 2 เข็ม ให้ฉีดเพิ่มอีก 1 เข็ม โดยมีระยะห่างระหว่างเข็ม 2 และเข็ม 3 อย่างน้อย 6 เดือนจากนั้นให้กระตุ้นทุก 10 ปี
  • ถ้าเคยได้รับวัคซีนมาอย่างน้อย 3 เข็มและเข็มสุดท้ายนานกว่า 10 ปี ให้ฉีดซ้ำอีก 1 ครั้ง จากนั้นให้กระตุ้นทุก 10 ปี

เพิ่มเพื่อน

 

Diphtheria/pertussis/tetanus vaccine (DTwP) (Injection)

Introduction

Diphtheria Toxoid, Adsorbed (dif-THEER-ee-a TOX-oyd, ad-SORBD), Pertussis Vaccine Adsorbed (per-TUS-iss VAX-een ad-SORBD), Tetanus Toxoid (TET-a-nus TOX-oyd)

Protects against infections caused by diphtheria, tetanus (lockjaw), and pertussis (whooping cough).

How to Use This Medicine

Injectable

  • This vaccine is given to all infants and children between 2 months and 7 years of age.
  • The doctor or nurse will give the shot to your child.
  • The shot is given in the thigh or shoulder muscle.
  • Three doses should be given 4 to 8 weeks apart; a fourth dose is given 6 to 12 months after the third dose.
  • A booster dose should be given at age 4 to 6 years unless your doctor tells you differently.

If a dose is missed:

  • Try not to miss a dose.
  • Make another appointment for your child as soon as possible if a dose is missed.

Drugs and Foods to Avoid

Ask your doctor or pharmacist before using any other medicine, including over-the-counter medicines, vitamins, and herbal products.

Warnings While Using This Medicine

  • This vaccine should not be given to children with certain medical conditions, such as illnesses with fever or seizures. Make sure your doctor knows if your child has any other medical problem.

Possible Side Effects While Using This Medicine

Call your doctor right away if you notice any of these side effects:

  • Hives or itching.
  • Swelling of face or eyes.
  • Trouble swallowing or breathing.
  • High fever (103 degrees F or more).
  • Prolonged crying or screaming (for 3 or more hours).
  • Confusion, headache, irritability.
  • Severe drowsiness that does not get better.
  • Convulsions (seizures).

If you notice these less serious side effects, talk with your doctor:

  • Swelling, redness, or a lump where the shot was given.
  • Fever (less than 103 degrees F) occurring with drowsiness, restlessness, vomiting, or swelling of neck glands.

If you notice other side effects that you think are caused by this medicine, tell your doctor

Call your doctor for medical advice about side effects. You may report side effects to FDA at 1-800-FDA-1088

เพิ่มเพื่อน