ยารักษาโรคภูมิแพ้

ยารักษาโรคภูมิแพ้

ยารักษาโรคภูมิแพ้เป็นยาที่บรรเทาอาการที่เกิดจากโรคภูมิแพ้ ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดโรคภูมิแพ้ก็หลายหลาย เช่นจากพืชได้แก่ เกษรดอกไม้ เชื้อรา จากสัตว์ได้แก่ รังแคหรือไขมันของสัตว์ ไรฝุ่น แมงสาป น้ำหอม ควัน(อ่านเรื่องปัจจัยกระตุ่มโรคหอบหืด) ทำไมถึงเกิดโรคภูมิแพ้ยังไม่มีใครทราบ แต่อาการของโรคภูมิแพ้จะเหมือนๆกัน อาการของแพ้ได้แก่ การบวมและการอักเสบซึ่งจะทำให้เกิดการบวมที่ขอบตา จมูก คอ มีผื่น และอาการคัน


ยาต้ามฮีสตามิน

ข้อบ่งชี้การใช้ยาแก้แพ้

  • ใช้รักษาอาการแพ้ที่เกิดจากการแพ้อากาศ
  • แพ้ฟางข้าว เกษรดอกไม้
  • รักษาภาวะลมพิษเรื้อรัง
  • รักษาอาการเมารถ นอนไม่หลับ และปวดศีรษะไมเกรน

กลไกการออกฤทธิ์ของยารักษาภูมิแพ้

ยารักษาภูมิแพ้ออกฤทธิ์โดยการต้านฮีสตามินซึ่งเป็นสารเคมีที่หลั่งออกมาหลังจากเกิดภูมิแพ้ ทำให้ลดอาการ บวม น้ำตาไหล คัน ลดเสมหะ

ยาภูมิแพ้แบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ได้สองชนิดคือยาแก้ภูมิแพ้ที่ทำให้เกิดอาการง่วง และยาภูมิแพ้ที่ไม่ง่วง

รูปแบบยาของภูมิแพ้

นอกจากยาเม็ดที่ใช้รับประทานแล้ว ยาแก้ภูมิแพ้ยังทำเป็นชนิดครีมใช้ทา spray จมูก ยาหยอดตา

ยาแก้แพ้ชนิดอื่นได้แก่


ยา Steroid

ยาชนิด สตีรอยด์ Steroid เป็นยาที่ใช้ลดการอักเสบ และอาการบวม มีทั้งชนิดฉีด ชนิดเม็ด ชนิดพ่นจมูก ชนิดสูดเข้าปอด ชนิดครีมทาผิวหนัง เป็นต้น เป็นยาที่ได้ผลดีในการรักษา แต่เมื่อมีการใช้ติดต่อกันนานๆ จะทำให้เกิดผลเสียอย่างรุนแรงต่อร่างกายได้ โดยเฉพาะชนิดฉีดและชนิดเม็ด เมื่อมีการใช้นานๆ จะไปกดการทำงานของไต ระบบภูมิคุ้มกันและอื่นๆ ทำให้ร่างกายมีการสะสมของน้ำเป็นปริมาณมาก ทำให้ตัวบวมน้ำ ความดันเลือดสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย น้ำตาลในเลือดสูง เป็นต้น ในทางการแพทย์จึงไม่ใช้ยาสตีรอยด์ ในกรณีทั่วไป จะเก็บไว้ใช้ในกรณีที่จำเป็นเท่านั้น และควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
ส่วนยาสตีรอยด์ในรูปแบบชนิดพ่นจมูก ชนิดสูดเข้าปอด และชนิดครีมทาผิวหนังเป็นรูปแบบที่ได้ผลดีที่ยา ไปออกฤทธิ์ ณ จุดออกฤทธิ์ของยาได้เลย ซึ่งอาจมีการดูดซึมเข้ากระแสเลือดไปออกฤทธิ์ทั่วร่างกายเหมือนดั่งยาฉีดและยาเม็ด แต่ถูกดูดซึมได้ในปริมาณที่น้อยมาก จึงใช้ ได้อย่างปลอดภัย


Mast cell stabilizers

เมื่อเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้เซลล์เม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า Mast cellจะหลังสารฮิสตามินออกมาทำให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ ยาในกลุ่มนี้เช่น cromolyn sodiumจะป้องมิให้ Mast cell หลั่งสารฮืสตามิน

ยา Leukotriene inhibitors: 

สาร leukotrienes เป็นสารชนิดหนึ่งที่หลั่งออกมาหลังจากการเกิดภูมิแพ้ซึ่งจะกระตุ้นให้โรคหอบหืดกำเริบ ยาที่ลดการหลั่งของสารนี้ก็สามารถลดการกำเริบของโรคหอบหืด ยาลดการหลั่ง Leukotriene


Nasal anticholinergics: 

A runny nose is a common complaint among those with allergic rhinitis. Anticholinergic nasal sprays reduce discharge from the nose, but though they do not relieve a stuffy nose.

ยาแก้คัดจมูก

ยาแก้คัดจมูกออกฤทธิ์โดยการทำให้เส้นเลือดในจมูกหดตัวซึ่งจะทำให้ลดอาการน้ำมูกไหล ยานี้มีทั้งยารับประทาน ยาพ่นจมูก


Immunomodulators: 

These are topical medications used to treat skin allergies. They are often used if other agents are ineffective or intolerable.การฉีดภูมิแพ้


ข้อควรระวังก่อนการใช้ยารักษาภูมิแพ้

  • ผู้ที่รับประทานยาแก้ภูมิแพ้จะต้องหลีกเลี่ยงการขับรถหรือทำงานกับเครื่องจักรซึ่งอาจจะเกิดอันตราย
  • ผู้ที่รับประทานยาภูมิแพ้ไม่ควรจะดื่มสุราเพราะจะทำให้ง่วงซึม
  • ผู้ที่ตั้งครรภ์ หรือกำลังเลี้ยงบุตรด้วยนมควรจะหลีกเลี่ยงยารักษาภูมิแพ้
  • สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคปอด ต่อมคอพอกเป็นพิษ ต่อมลูกหมากโต ควรจะแจ้งแพทย์

ตัวอย่างยาแก้ภูมิแพ้

ยาแก้แพ้รุ่นเก่า antihistamines

ยาแก้โรคภูมิแพ้รุ่นที่2 antihistamines:

ยาแก้ภูมิแพ้ชนิดพ่นจมูก

  • Azelastine
  • Olopatadine

Eyedrops:

  • Azelastine
  • Emadastine
  • Naphazoline/pheniramine
  • Epinastine
  • Ketotifen
  • Olopatadine
  • Loteprednol
  • Naphazoline
  • Cromolyn
  • Lodoxamine
  • Nedocromil
  • Pemirolast
  • Ketorolac

Nasal corticosteroids:

  • Budesonide
  • Ciclesonide
  • Flunisolide
  • Fluticasone furoate
  • Fluticasone propionate
  • Mometasone furoate
  • Triamcinolone acetonide
  • Beclomethasone dipropionate

Mast cell stabilizers

Leukotriene drugs used for allergies:

Nasal anticholinergics:

  • Ipratropium bromide

Decongestants (Nasal):

  • Oxymetazoline (Afrin)

Decongestants (Oral):

โรคภูมิแพ้

เพิ่มเพื่อน