หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

การประเมินความเสี่ยง (Risk Stratification)ของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด


 

การประเมินความเสี่ยงมีประโยชน์ในการเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย และช่วยบอกการพยากรณ์โรคในระยะสั้นได้ เช่น ผู้ป่วย ACS ที่เป็นมีความเสี่ยงสูง high risk มักมีความรุนแรงของพยาธิสภาพมากกว่า มักจะมีลิ่มเลือดในหลอดเลือดหัวใจ intracoronary thrombus และมีโอกาสที่จะไม่ตอบสนองต่อการรักษา หรืออัตราการตายมากกว่ากลุ่มอื่น เพราะฉะนั้นผู้ป่วยอาจต้องมีการรักษาที่ aggressive กว่าและการ monitor ที่ใกล้ชิดกว่าผู้ป่วยอื่น การประเมินความเสี่ยงโดยอาศัยลักษณะทางคลินิก

ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น ACS นั้น ในเบื้องต้น จำเป็นต้องประเมินความเสี่ยงใน 3 ด้านดังต่อไปนี้

1ประเมินว่าอาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหลอดเลือดอุดตันหรือไม

ดรคหัวใจ

ผู้ที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่เกิดจากหลอดเลือดอุดตันจะมีอาการรุนแรง การรักษาเร็วจะลดอัตราการเสียชีวิต ท่านต้องทราบอาการของหลอดเลือดอุดตัน

อ่านความเสี่ยงของการเกิดหลอดเลือดอุดตัน


2การประเมินว่าผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต

เจ็บหน้าอก

การประเมินว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิตจากกล้ามเนื้อหัวใจหรือไม่ จะประเมินจาก อาการของผู้ป่วย ตรวจร่างกาย คลื่นไฟฟ้าหัวใจ และผลเลือด อ่านที่นี่




3การประเมินความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

คลื่นไฟฟ้าหัวใจ

คลื่นไฟฟ้าหัวใจของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด จะบอกความรุนแรงของโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้ การประเมินความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด จากคลื่นไฟฟ้าหัวใจ


4การประเมินความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากผลการตรวจเลือด

เจาะเลือด

กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นบริเวณกว้าง ผลเลือดที่บ่งบอกว่ากล้ามเนื้อหัวใจตายก็จะสูง อ่านที่นี่


อาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การรักษา กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด